เทอดชัย
บัวผาย (http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7)
กล่าวว่า แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ ความรู้มีหลายประเภท
บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง
บางประเภทมีความซับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายากมีทั้งหมด
9 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1
สร้างความสนใจ(Gaining
attention)
ขั้นที่ 2
แจ้งจุดประสงค์(Informing the
learning)
ขั้นที่ 3
กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น(Stimulating recall of prerequisite learned
capabilities)
ขั้นที่ 4
เสนอบทเรียนใหม่(Presenting the
stimulus)
ขั้นที่ 5
ให้แนวทางการเรียนรู้(Providing
learning guidance)
ขั้นที่ 6
ให้ลงมือปฏิบัติ(Eliciting the
performance)
ขั้นที่ 7
ให้ข้อมูลป้อนกลับ(Feedback)
ขั้นที่ 8
ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์(Assessing
the performance)
ขั้นที่ 9
ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้(Enhancing
retention and transfer)
เสาวลักษณ์
รัตนวิชช์ (2543 : 81-82)
ได้กล่าวถึงทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
และหลักการจัดการเรียนการสอนไว้ดังนี้
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้
คือ ความรู้มีหลายประเภท
บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง
บางประเภทมีความซับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้
คือ การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายากมีทั้งหมด 9 ขั้น
ดังนี้
ขั้นที่ 1
สร้างความสนใจ(Gaining
attention)
ขั้นที่ 2
แจ้งจุดประสงค์(Informing the
learning)
ขั้นที่ 3
กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น(Stimulating recall of prerequisite learned
capabilities)
ขั้นที่ 4
เสนอบทเรียนใหม่(Presenting the
stimulus)
ขั้นที่ 5
ให้แนวทางการเรียนรู้(Providing
learning guidance)
ขั้นที่ 6
ให้ลงมือปฏิบัติ(Eliciting the
performance)
ขั้นที่ 7
ให้ข้อมูลป้อนกลับ(Feedback)
ขั้นที่ 8
ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์(Assessing
the performance)
ขั้นที่ 9
ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้(Enhancing
retention and transfer)
ปรียาพร
วงศ์อนุตรโรจน์ (2543 : 86-88 )
ได้ผสมผสานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมกับทฤษฏีความรู้ความเข้าใจ แล้วสรุปเป็น 8
ขั้นตอนในการเรียนรู้
1.
การเรียนรู้สัญญาณ ( Sign Learning )
เป็นการเรียนรู้ที่อยู่ในระดับต่ำสุด
เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เช่น จกการทดลองการหลั่งน้ำลายของสุนัข
เมื่อสุนัขได้ยินเสียงกระดิ่ง ตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไขของ Pavlov การเรียนรู้สัญญาณเป็นสิ่งที่เราสามารถสังเกตเห็นจากชีวิตประจำวันของเรา
ได้แก่ การกระพริบตา เมื่อมีของมากระทบตาเรา
2.
การเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ( Stimulus Response Learning ) เป็นการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่าง
ๆ ของร่างกายต่อสิ่งเร้า เป็นการเน้นข้อต่อระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองโดยผู้เรียนเป็นผู้กระทำเอง
เช่น การทดลองจิกแป้นสีของนกพิราบจากการทดลองของ Skinner
3.
การเรียนรู้การเชื่อมโยง ( Chaining
) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองติดต่อกับเป็นการเรียนรู้ในด้านทักษะ
เช่น การเขียน การอ่าน การพิมพ์ดีด และการเล่นดนตรี เป็นต้น
4.
การเชื่อมโยงทางภาษา ( Verbal
Association ) เป็นการเชื่อมโยงความหมายทางภาษาโดยออกมาเป็นคำพูด
แล้วจึงใช้ตัวอักษร เช่น การเรียนการใช้ภาษา รวมทั้งการเขียนตัวอักษรด้วย
5. การแยกประเภท
( Multiple
Discrimination Learning ) เป็นความสามารถในการแยกสิ่งเร้าและการตอบสนอง
ผู้เรียนเห็นความแตกต่างของสิ่งของประเภทเดียวกัน
เป็นการจำแนกความแตกต่างด้านทักษะและภาษา สามารถแยกลักษณะของลายเส้นจากหมึกได้
6.
การเรียนรู้ความคิดรวบยอด ( Concept
Learning ) เป็นความสามารถที่ผู้เรียนมองเห็นลักษณะร่วมของสิ่งต่างๆ
เช่น เมื่อนึกถึงวิทยุก็นึกถึงความถี่ของเสียง
การใช้ไฟฟ้าและแบตเตอรี่การรับฟังข่าวสาระบันเทิงได้
7.
การเรียนรู้หลักการ ( Principle
Learning ) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการนำความคิดรวบยอดสองความคิดหรือมากกว่านั้นมาสัมพันธ์กัน
แล้วสรุปตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น เช่น ไฟฟ้าเป็นสื่อนำความร้อน
8.
การเรียนรู้การแก้ปัญหา ( Problem -
Solving ) การเรียนรู้ด้วยการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากที่ผู้เรียนนำหลักการที่มีประสบการณ์มาก่อนมาใช้ในการแก้ปัญหา
เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมและปัญหา เช่น ไฟฟ้าเป็นสื่อนำความร้อน
เราก็นำไฟฟ้ามาใช้หุงต้มได้
Gagne and Briggs (1974:121-136)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย กล่าวไว้ว่า
การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายากมีทั้งหมด 8 ประเภทดังนี้
1.การเรียนรู้สัญญาณ (signal-learning) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นไปโดยอัตโนมัติ อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ ผู้เรียนไม่สามารถบังคับพฤติกรรมไม่ให้เกิดขึ้นได้
2.การเรียนรู้สิ่งเร้า การตอบสนอง (stimulus-response learning) เป็นการเรียนรู้ต่อเนื่องจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง แตกต่างจากการเรียนรู้สัญญาณเพราะผู้เรียนสามารถควบคุมพฤติกรรมตนเองได้
3.การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง (chaining) เป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองที่ต่อเนื่องกันตามลำดับ เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกระทำ การเคลื่อนไหว
4.การเชื่อมโยงทางภาษา (verbal association) เป็นการเรียนรู้ลักษณะคล้ายกับการเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง แต่เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษา
5.การเรียนรู้ความแตกต่าง (discrimination learning) เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถมองเห็นความแตกต่างของสิ่งต่างๆโดยเฉพาะความแตกต่างตามลักษณะของวัตถุ
6.การเรียนรู้ความคิดรวบยอด (concept learning) เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถจัดกลุ่มสิ่งเร้าที่มีความเหมือนกันหรือแตกต่างกัน
7.การเรียนรู้กฎ (rule learning) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการรวมหรือเชื่อมโยงความคิดรวบยอดตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปและตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น
8.การเรียนรู้การแก้ปัญหา (problem solving) เป็นการเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหาโดยยการนำกฎเกณฑ์ต่างๆมาใช้ การเรียนรู้นี้เป็นกระบวนการที่เกิดภายในตัวผู้เรียน
1.การเรียนรู้สัญญาณ (signal-learning) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นไปโดยอัตโนมัติ อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ ผู้เรียนไม่สามารถบังคับพฤติกรรมไม่ให้เกิดขึ้นได้
2.การเรียนรู้สิ่งเร้า การตอบสนอง (stimulus-response learning) เป็นการเรียนรู้ต่อเนื่องจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง แตกต่างจากการเรียนรู้สัญญาณเพราะผู้เรียนสามารถควบคุมพฤติกรรมตนเองได้
3.การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง (chaining) เป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองที่ต่อเนื่องกันตามลำดับ เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกระทำ การเคลื่อนไหว
4.การเชื่อมโยงทางภาษา (verbal association) เป็นการเรียนรู้ลักษณะคล้ายกับการเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง แต่เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษา
5.การเรียนรู้ความแตกต่าง (discrimination learning) เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถมองเห็นความแตกต่างของสิ่งต่างๆโดยเฉพาะความแตกต่างตามลักษณะของวัตถุ
6.การเรียนรู้ความคิดรวบยอด (concept learning) เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถจัดกลุ่มสิ่งเร้าที่มีความเหมือนกันหรือแตกต่างกัน
7.การเรียนรู้กฎ (rule learning) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการรวมหรือเชื่อมโยงความคิดรวบยอดตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปและตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น
8.การเรียนรู้การแก้ปัญหา (problem solving) เป็นการเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหาโดยยการนำกฎเกณฑ์ต่างๆมาใช้ การเรียนรู้นี้เป็นกระบวนการที่เกิดภายในตัวผู้เรียน
ทิศนา
แขมมณี (1974:121-136)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย กล่าวไว้ว่า
การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายากมีทั้งหมด 8 ประเภทดังนี้
1 การเรียนรู้สัญญาณ (signal-learning)
เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นไปโดยอัตโนมัติ
อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ ผู้เรียนไม่สามารถบังคับพฤติกรรมไม่ให้เกิดขึ้นได้
2 การเรียนรู้สิ่งเร้า การตอบสนอง (stimulus-response learning) เป็นการเรียนรู้ต่อเนื่องจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
แตกต่างจากการเรียนรู้สัญญาณเพราะผู้เรียนสามารถควบคุมพฤติกรรมตนเองได้ 3 การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง (chaining)
เป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองที่ต่อเนื่องกันตามลำดับ
เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกระทำ การเคลื่อนไหว
4 การเชื่อมโยงทางภาษา (verbal association)
เป็นการเรียนรู้ลักษณะคล้ายกับการเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง
แต่เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษา
5 การเรียนรู้ความแตกต่าง (discrimination learning)
เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถมองเห็นความแตกต่างของสิ่งต่างๆโดยเฉพาะความแตกต่างตามลักษณะของวัตถุ
6 การเรียนรู้ความคิดรวบยอด (concept learning)
เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถจัดกลุ่มสิ่งเร้าที่มีความเหมือนกันหรือแตกต่างกัน
7 การเรียนรู้กฎ (rule learning)
เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการรวมหรือเชื่อมโยงความคิดรวบยอดตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปและตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น
8
การเรียนรู้การแก้ปัญหา (problem solving)
เป็นการเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหาโดยการนำกฎเกณฑ์ต่างๆมาใช้
การเรียนรู้นี้เป็นกระบวนการที่เกิดภายในตัวผู้เรียน
บริหารการศึกษา
กลุ่มดอนทอง52 (http://dontong52.blogspot.com/ ) กล่าวว่า ทฤษฎีการเรียนรู้ของกานเย (Gagne)
1)
ประเภทการเรียนรู้เป็นลำดับขั้นตอน ง่ายไปหายาก 8 ประเภท
- การเรียนรู้สัญญาณ
- การเรียนรู้สิ่งเร้า การตอบสนอง
- การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง
- การเชื่อมโยงทางภาษา
- การเรียนรู้ความแตกต่าง
- การเรียนรู้ความคิดรวบยอม
- การเรียนรู้กฎ
- การเรียนรู้การแก้ปัญหา
2) กานเยได้แบ่งสมรรถภาพการเรียนรู้ไว้ 5 ประการ
- สมรรถภาพในการเรียนรู้ข้อเท็จจริง
- ทักษะเชาว์ปัญญา
- ยุทธศาสตร์ในการคิด
- ทักษะการเคลื่อนไหว
- เจตคติ
- การเรียนรู้สัญญาณ
- การเรียนรู้สิ่งเร้า การตอบสนอง
- การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง
- การเชื่อมโยงทางภาษา
- การเรียนรู้ความแตกต่าง
- การเรียนรู้ความคิดรวบยอม
- การเรียนรู้กฎ
- การเรียนรู้การแก้ปัญหา
2) กานเยได้แบ่งสมรรถภาพการเรียนรู้ไว้ 5 ประการ
- สมรรถภาพในการเรียนรู้ข้อเท็จจริง
- ทักษะเชาว์ปัญญา
- ยุทธศาสตร์ในการคิด
- ทักษะการเคลื่อนไหว
- เจตคติ
อนุชิต
(http://www.edu.cru.in.th/anuchit/it5202/5.doc) ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้
คือ ความรู้มีหลายประเภท บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง
บางประเภทมีความซับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถ
(http://www.isu.ob.tc/5.3.html) ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า โรเบิร์ต กาเย (Robert Gagne) เป็นนักปรัชญาและจิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกา (1916-2002) ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการสอน คือ ทฤษฎีเงื่อนไขการเรียนรู้ (Condition of Learning) โดยทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเยจัดอยู่ในกลุ่มผสมผสาน (Gagne’s eclecticism) ซึ่งเชื่อว่าความรู้มีหลายประเภท บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง บางประเภทมีความซับซ้อนจำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเยอธิบายว่าการเรียนรู้มีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ
หลักการและแนวคิด
1) ผลการเรียนรู้หรือความสามารถด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ ซึ่งมีอยู่ 5 ประเภท คือ
- ทักษะทางปัญญา (Intellectual skill) ซึ่งประกอบด้วยการจำแนกแยกแยะการสร้างความคิดรวบยอด การสร้างกฎ การสร้างกระบวนการหรือกฎชั้นสูง
- กลวิธีในการเรียนรู้ (Cognitive strategy)
- ภาษาหรือคำพูด ( verbal information)
- ทักษะการเคลื่อนไหว (motor skills)
- และเจตคติ (attitude)
2) กระบวนการเรียนรู้และจดจำของมนุษย์ มนุษย์มีกระบวนการจัดกระทำข้อมูลในสมอง ซึ่งมนุษย์จะอาศัยข้อมูลที่สะสมไว้มาพิจารณาเลือกจัดกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และในขณะที่กระบวนการจัดกระทำข้อมูลภายในสมองกำลังเกิดขึ้น เหตุการณ์ภายนอกร่างกายมนุษย์มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมหรือการยับยั้งการ เรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายในได้ ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอน กาเยจึงได้เสนอแนะว่า ควรมีการจัดสภาพการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับการเรียนรู้แต่ละประเภท ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ภายในสมอง โดยการจัดสภาพภายนอกให้เอื้อต่อกระบวนการเรียนรู้ภายในของผู้เรียน
Surin (http://surinx.blogspot.com/ ) กานเย (Gagne) เป็นนักจิตวิทยาและนักการศึกษาในกลุ่มผสมผสานระหว่างพฤติกรรมนิยมกับพุทธนิยม
(Behavior Cognitivist) เขา อาศํยทฤษฎีและหลักการที่หลากหลาย
เนื่องจากความรู้มีหลายประเภท
บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้งบางประเภท
มีความวับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง
กานเย่ได้จัดขั้นการเรียนรู้ซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายาก โดยผสมผสานทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมนิยม
และพุทธนิยมเข้าด้วยกัน
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ (http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486) ความรู้มีหลายประเภท บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง
บางประเภทมีความซับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้
คือ การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายากมีทั้งหมด 9 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Gaining attention)
ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์ (Informing the learning)
ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น (Stimulating recall of prerequisite learned capabilities)
ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่ (Presenting the stimulus)
ขั้นที่ 5 ให้แนวทางการเรียนรู้ (Providing learning guidance)
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ (Eliciting the performance)
ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ (Assessing the performance)
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้ (Enhancing retention and transfer)
ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์ (Informing the learning)
ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น (Stimulating recall of prerequisite learned capabilities)
ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่ (Presenting the stimulus)
ขั้นที่ 5 ให้แนวทางการเรียนรู้ (Providing learning guidance)
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ (Eliciting the performance)
ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback)
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ (Assessing the performance)
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้ (Enhancing retention and transfer)
ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สพป. อุตรดิตถ์ เขต 2 ( http://www.neric-club.com/data.php?page=4&menu_id=97 ) ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า แนว
คิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ ความรู้มีหลายประเภท
บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง
บางประเภทมีความซับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ
การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายากมีทั้งหมด 9 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ(Gaining attention)
ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์(Informing the learning)
ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น(Stimulating recall of prerequisite learned capabilities)
ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่(Presenting the stimulus)
ขั้นที่ 5 ให้แนวทางการเรียนรู้(Providing learning guidance)
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ(Eliciting the performance)
ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลป้อนกลับ(Feedback)
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์(Assessing the performance)
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้(Enhancing retention and transfer)
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ(Gaining attention)
ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์(Informing the learning)
ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น(Stimulating recall of prerequisite learned capabilities)
ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่(Presenting the stimulus)
ขั้นที่ 5 ให้แนวทางการเรียนรู้(Providing learning guidance)
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ(Eliciting the performance)
ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลป้อนกลับ(Feedback)
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์(Assessing the performance)
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้(Enhancing retention and transfer)
http://uthailand.wordpress.com/2011/08/17/gagne/ ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่า โรเบิร์ต
กาเย่ (Robert Gagne) เชื่อว่าความรู้มีหลายประเภท
บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง
บางประเภทมีความซับซ้อนจำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง
หลักการและแนวคิด
1) ผลการเรียนรู้หรือความสามารถด้านต่าง
ๆ ของมนุษย์ ซึ่งมีอยู่ 5 ประเภท คือ
- ทักษะทางปัญญา (Intellectual
skill) ซึ่งประกอบด้วยการจำแนกแยกแยะ การสร้างความคิดรวบยอด
การสร้างกฎ การสร้างกระบวนการหรือกฎชั้นสูง
- กลวิธีในการเรียนรู้
(Cognitive strategy)
- ภาษาหรือคำพูด (verbal
information)
- ทักษะการเคลื่อนไหว (motor
skills)
- และเจตคติ (attitude)
2) กระบวนการเรียนรู้และจดจำของมนุษย์ มนุษย์มีกระบวนการจัดกระทำข้อมูลในสมอง ซึ่งมนุษย์จะอาศัยข้อมูลที่สะสมไว้มาพิจารณาเลือกจัดกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และในขณะที่กระบวนการจัดกระทำข้อมูลภายในสมองกำลังเกิดขึ้น เหตุการณ์ภายนอกร่างกายมนุษย์มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมหรือการยับยั้งการ เรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายในได้
2) กระบวนการเรียนรู้และจดจำของมนุษย์ มนุษย์มีกระบวนการจัดกระทำข้อมูลในสมอง ซึ่งมนุษย์จะอาศัยข้อมูลที่สะสมไว้มาพิจารณาเลือกจัดกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และในขณะที่กระบวนการจัดกระทำข้อมูลภายในสมองกำลังเกิดขึ้น เหตุการณ์ภายนอกร่างกายมนุษย์มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมหรือการยับยั้งการ เรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายในได้
เสนอแนะว่า
ควรมีการจัดสภาพการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับการเรียนรู้แต่ละประเภท
ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ภายในสมอง
โดยการจัดสภาพภายนอกให้เอื้อต่อกระบวนการเรียนรู้ภายในของผู้เรียน
http://www.kroobannok.com/92 ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gange') ได้นำเอาแนวแนวความคิด 9 ประการ มาใช้ประกอบการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
เพื่อให้ได้บทเรียนที่เกิดจากการออกแบบในลักษณะการเรียนการสอนจริง
โดยยึดหลักการนำเสนอเนื้อหาและจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์
หลักการสอนทั้ง 9 ประการได้แก่
1. เร่งเร้าความสนใจ (Gain
Attention)
2. บอกวัตถุประสงค์ (Specify
Objective)
3. ทบทวนความรู้เดิม (Activate
Prior Knoeledge)
4. นำเสนอเนื้อหาใหม่ (Present
New Information)
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
(Guide Learning)
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
(Elicit Response)
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide
Feedback)
8. ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess
Performance)
9. สรุปและนำไปใช้ (Review
and Transfer)
โครงการนิเทศเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน(http://www.neric-club.com/data.php?page=4&menu_id=97) กล่าวว่าแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ
ความรู้มีหลายประเภท
บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง
บางประเภทมีความซับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายากมีทั้งหมด
9 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่
1 สร้างความสนใจ(Gaining attention)
ขั้นที่
2 แจ้งจุดประสงค์(Informing the learning)
ขั้นที่
3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น(Stimulating
recall of prerequisite learned capabilities)
ขั้นที่
4 เสนอบทเรียนใหม่(Presenting the stimulus)
ขั้นที่
5 ให้แนวทางการเรียนรู้(Providing learning
guidance)
ขั้นที่
6 ให้ลงมือปฏิบัติ(Eliciting the performance)
ขั้นที่
7 ให้ข้อมูลป้อนกลับ(Feedback)
ขั้นที่
8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์(Assessing
the performance)
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้(Enhancing
retention and transfer)
มาลินี
จุฑะรพ ( 2537:56) ได้ให้ความหมายไว้ว่า โรเบิร์ต เอ็ม กาเย
ได้กล่าวถึงกระบวนการเรียนรู้ไว้8ขั้นตอนคือ
1.การจูงใจ ก่อนการเรียนรู้ต้องมีการจูงใจให้ผู้เรียนได้อยากรู้อยากเห็น และมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2.ความเข้าใจ การเรียนรู้ผู้เรียนต้องมีความเข้าใจในบทเรียน จึงจะช่วยให้การเรียนมีประสิทธิภาพ
3.การได้รับ เมื่อผู้เรียนมีความเข้าใจในบทเรียน จะก่อให้เกิดความรับรู้เพื่อเก็บไว้หรือ จดจำ
4.การเก็บไว้ เมื่อผู้เรียนได้รับความรู้ก็จะเก็บความรู้ไว้ตามสมรรถภาพของผู้เรียน
5.การระลึกได้ เมื่อผู้เรียนเก็บความรู้ไว้ก็จะนำถูกมาใช้ในโอกาสต่างๆที่ระลึกได้
6.ความคล้ายคลึง ผู้เรียนจะนำสิ่งที่ระลึกได้ มาใช้ในโอกาสต่าง ๆ
7.ความสามารถในการปฏิบัติ หลังจากที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว ผู้เรียนต้องนำความรู้ไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
8.การป้อนกลับ เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ว่าผู้เรียนได้เรียนรู้ถูกต้องมากเพียงใด
1.การจูงใจ ก่อนการเรียนรู้ต้องมีการจูงใจให้ผู้เรียนได้อยากรู้อยากเห็น และมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2.ความเข้าใจ การเรียนรู้ผู้เรียนต้องมีความเข้าใจในบทเรียน จึงจะช่วยให้การเรียนมีประสิทธิภาพ
3.การได้รับ เมื่อผู้เรียนมีความเข้าใจในบทเรียน จะก่อให้เกิดความรับรู้เพื่อเก็บไว้หรือ จดจำ
4.การเก็บไว้ เมื่อผู้เรียนได้รับความรู้ก็จะเก็บความรู้ไว้ตามสมรรถภาพของผู้เรียน
5.การระลึกได้ เมื่อผู้เรียนเก็บความรู้ไว้ก็จะนำถูกมาใช้ในโอกาสต่างๆที่ระลึกได้
6.ความคล้ายคลึง ผู้เรียนจะนำสิ่งที่ระลึกได้ มาใช้ในโอกาสต่าง ๆ
7.ความสามารถในการปฏิบัติ หลังจากที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว ผู้เรียนต้องนำความรู้ไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
8.การป้อนกลับ เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ว่าผู้เรียนได้เรียนรู้ถูกต้องมากเพียงใด
สพป.อุตรดิตถ์เขต2[ออนไลน์]:http://www.neric-club.com/data.php?page=1&menu_id=97
เข้าถึงเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 5 กรกฎาคม 2555 ได้ให้ความหมายไว้ว่าทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสานของกานเย (Gagne’s eclecticism) แนว
คิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ ความรู้มีหลายประเภท
บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง
บางประเภทมีความซับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายากมีทั้งหมด
9 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1สร้างความสนใจ (Gaining
attention)
ขั้นที่2แจ้งจุดประสงค์ (Informingthelearning)
ขั้นที่ 3กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น (Stimulating
recall of prerequisite learned capabilities)
ขั้นที่ 4เสนอบทเรียนใหม่(Presenting the stimulus)
ขั้นที่5ให้แนวทางการเรียนรู้(Providing learning
guidance)
ขั้นที่6ให้ลงมือปฏิบัติ(Elicitingthe performance)
ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลป้อนกลับ(Feedback)
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์(Assessing
the performance)
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้(Enhancing
retention and transfer)
สรุป ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสานของกานเย (Gagne’s eclecticism) แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้
คือ ความรู้มีหลายประเภท บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง
บางประเภทมีความซับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง
หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ
การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายาก
1. กานเย (Gagne) ได้จัดประเภทของการเรียนรู้
เป็นลำดับขั้นจากง่ายไปหายากไว้ 8 ประเภท ดังนี้
1.1 การเรียนรู้สัญญาน(signal-learning)
1.2 การเรียนรู้สิ่งเร้า-การตอบสนอง(stimulus-response)
1.3 การเรียนรู้การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง (chaining)
1.4 การเชื่อมโยงทางภาษา (verbal association)
1.5 การเรียนรู้ความแตกต่าง (discrimination learning)
1.6 การเรียนรู้ความคิดรวบยอด (concept learning)
1.7 การเรียนรู้กฎ (rule learning)
1.8 การเรียนรู้การแก้ปัญหา (problem solving)
2. กานเยได้แบ่งสมรรถภาพการเรียนรู้ของมนุษย์ไว้ 5 ประการ
ดังนี้
2.1 สมรรถภาพในการเรียนรู้ข้อเท็จจริง (verbal information)
2.2 ทักษะเชาว์ปัญญา (intellectual skills)
2.3 ยุทธศาสตร์ในการคิด (cognitive strategies)
2.4 ทักษะการเคลื่อนไหว (motor skills)
2.5 เจตคติ (attitudes)
อ้างอิง
เทอดชัย
บัวผาย.(ออนไลน์).URL: http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7. เข้าถึงเมื่อ 13 กรกฎาคม 2555.
เสาวลักษณ์
รัตนวิชช์.(2543
: 81-82).ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรียาพร
วงศ์อนุตรโรจน์. (2543 : 86-88 ).ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Gagne and Briggs (1974:121-136). การสอนจิตวิทยาการเรียนรู้ เรื่องศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.
พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี.2550. การสอนจิตวิทยาการเรียนรู้ เรื่องศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.
พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52 http://dontong52.blogspot.com/ . เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 18
กรกฎาคม 2555.
http://www.isu.ob.tc/5.3.html. เข้าถึงเมื่อ 29/06/55
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณhttp://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 สืบค้นเมื่อ 26/06/2554
ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
สพป. อุตรดิตถ์ เขต 2 : http://www.neric-club.com/data.php?page=4&menu_id=97 . เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2555
.
http://uthailand.wordpress.com/2011/08/17/gagne/ เข้าถึงเมื่อ 17 กรกฎาคม 55
โครงการนิเทศเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.[ออนไลน์]. http://www.neric-
club.com/data.php?page=4&menu_id=97 .เข้าถึงเมื่อวันที่
4 กรกฎาคม พ.ศ.2555.
มาลินี จุฑะรพ ( 2537:56) . หลักจิตวิทยาทั่วไป.พิมพ์ครั้งที่1 .
สพป.อุตรดิตถ์เขต 2 [ออนไลน์]
http://www.neric-club.com/data.php?page=1&menu_id=97 เข้าถึงเมื่อ วันพฤหัสบดีที่ 5 กรกฎาคม 2555
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น